Upgrade to Pro — share decks privately, control downloads, hide ads and more …

AgriFood_Intro_Research-jun2024.pdf

tintrd
June 13, 2024
47

 AgriFood_Intro_Research-jun2024.pdf

tintrd

June 13, 2024
Tweet

Transcript

  1. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) Overview: Agri & Food Tech Section

    ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) June 2024 รพพน พิชา หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร
  2. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) Food Food irradiation Food authentication Environment

    Soil erosion Groundwater, rainwater isotope ratios Radon, NORM Agriculture Sterile insect technique Plan mutation breeding Archaeology Carbon dating Cultural heritage Beam Utilization Neutron imaging Ion beam analysis Health Medical materials Radiopharmaceuticals Biodiesel catalyst Risk/impact assessment of NPP, NRR Innovative batter materials Energy Biodiesel catalyst Super Water Absorbent (SWA) Chitosan growth promoter Nanomaterials Biomaterials Material งานวิจัยและพัฒนา ศน.
  3. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) จารุรัตน์ วชิราภรณ์ เขมรุจิ ศิริล้กษณ์ สุรศักดิ์ ปัญชลี

    ชัญภักต์ สุภลักษณ์ วาสนา ฐิติมา วรารัตน์ ทศพล ละมัย วิชัย ปิยนุช Plant SIT Food Authen Food Irradiation รัชนีพร ศจีมาศ
  4. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) SIT: Sterile insect technique ใช้รังสีท าให้แมลงเป็นหมัน

    ลดอัตราการท าลายผลิตผลทางการเกษตร 1. โครงการ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย (แมลงวันผลไม้) ต.ตรอกนอง อ.ขลุง จ.จันทบุรี (ต้นแบบพื้นที่ ประชากรต ่า: low-population area model) 2. Genetic sexing strains (GSS) สายพันธุ์เพศเมีย ดักแด้สีขาว เพศผู้สีน ้าตาล ท าให้แยกเพศได้ และ เลือกปล่อยเฉพาะเพศผู้ ลดความเสียหายของผลไม้ 3. พัฒนาสายพันธุ์ที่มีความไวต่ออุณหภูมิ (temperature sensitive lethal: TSL) 4. การท าหมันยุง (potential project)
  5. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) โครงการ ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย (แมลงวันผลไม้) ต.ตรอกนอง อ.ขลุง จ.จันทบุรี

    เพื่อเป็นต้นแบบพื้นที่ที่มีแมลงวันผลไม้แพร่หลายต ่า ที่แรกของประเทศ (Establishment of area of low pest prevalence of fruit fly) รายงานการวิจัย ทุน วช. ปีงบ 2565 สีน ้าเงิน – พื้นที่ควบคุมที่มีการปล่อยแมลง สีน ้าตาล - พื้นที่โดยรอบ • เป้าหมายและผลที่ได้: • เกษตรกรได้รับความรู้เชิงเทคนิค SIT • ใช้เทคนิคเชิงนิวเคลียร์ ลดประชากรแมลงวันผลไม้ ผ่านการฉายรังสี • ลดความเสียหายของผลิตผล เพื่อผลิตผลไม้คุณภาพ ปลอดภัยตาม มาตรการสุขอนามัยพืช และเพิ่มรายได้เกษตรกร
  6. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 1. ข้าวหอมกอทนสภาพดินเปรี้ยว 2. พริกต้านทานโรคแอนแทรคโนสโดยล าอิเล็กตรอน 3.

    ทิวลิปที่พัฒนาให้ครบวงจรการผลิต 4. การปรับปรุงพันธุ์ข้าว เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ 5. การชักน าการกลายพันธุ์ในบัว 6. ไม้ดอกไม้ประดับ 7. กัญชงกัญชา 8. อ้อย 9. ทดสอบปรับปรุงพันธุ์ด้วยพสาสมา Plant Mutation Breeding การปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยรังสี เป็นการใช้รังสีในการเหนี่ยวน าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เพื่อชักน าให้เกิดการกลายพันธุ์ เพิ่มความหลากหลายและลักษณะบางประการให้ดีขึ้น
  7. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 1. โครงการวิเคราะห์แหล่งที่มาข้าวหอมมะลิ ข้าวสังข์หยด และข้าวไทยอื่น 2. โครงการ

    การตรวจพิสูจน์ผักอินทรีย์โดยเทคนิคทางไอโซโทปเสถียรและ เทคนิคที่เกี่ยวข้อง (2565-2567) 3. โครงการวิเคราะห์เมล็ดกาแฟ (2564-2567) 4. การตรวจสอบการปลอมปนน ้าผึ้ง น ้ามะพร้าว (ศท. + ศน./ทส.) 5. อัตลักษณ์มะยงชิดในนครนายก (2567-2568) (ศน./ทส.) 6. อาหารทะเล (potential project - ศน./ทส.) Food Authentication and Provenance Analysis ตรวจวิเคราะห์สมบัติของผลิตผลทางการเกษตรจากแหล่งที่มาต่าง ๆ เพื่อสร้าง ฐานข้อมูล และเปรียบเทียบความแตกต่าง
  8. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 2. โครงการการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการฉายรังสีเพื่อยกระดับคุณภาพ ของอาหารพื้นถิ่นจากผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มปลาสลิดแปรรูป (วช.) 3. โครงการสร้างมูลค่าและความปลอดภัยให้กับอาหารพื้นถิ่นด้วยการฉาย

    รังสีเพื่อการบริโภคในประเทศ และการส่งออก 4. โครงการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม และเพื่อการยกระดับโอทอป (STI for SMEs OTOP Upgrade) 5. การน าสารสกัดจากสมุนไพรที่ฉายรังสีมาพัฒนาเป็นเวชส าอางต้นแบบ 6. การน าเทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่มอาชีพ ต่าง กับฝ่าย สส. 1. โครงการการยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ อาหารและการเกษตรด้วยการฉายรังสีและเทคโนโลยี พลาสมา 1.1 การประยุกต์ใช้รังสีเอกซ์เพื่อปรับปรุงคุณภาพของผลไม้ ฉายรังสีเพื่อการส่งออก 1.2 การปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารและสมุนไพร โดยการใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอนเชิง พาณิชย์ 1.3 การประยุกต์ใช้เครื่องก าเนิดพลาสมาและล าอิเล็คตรอน เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและมูลค่าทางเศรษฐกิจใน ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องงอก Food Irradiation ฉายรังสีอาหาร สมุนไพร ผลไม้ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และลดปริมาณจุลินทรีย์ก่อโรค
  9. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) ภาคใต ้ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    ภาคเหนือ เชียงราย เชียงใหม่ ก าแพงเพชร ภูเก็ต สุราษฎ์ธานี สงขลา อยุธยา นคคราชสีมา ฉะเชิงเทรา กรุงเทพมหานคร ด าเนินโครงการแล้ว ก าลังด าเนินโครงการปี 66 บุรีรัมย์ สุรินทร์ มหาสารคราม อุบลราชธานี กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สทน. จะเริ่มด าเนินโครงการ อาหารพื้นถิ่นปี 67 ได้แก่ 1.มรภ. มหาสารคาม 2.มรภ.สุรินทร์ 3.มรภ.บุรีรัมย์ 4.มรภ.อุบลราชธานี 5.มรภ.กาฬสินธุ์ 6.มรภ.ร้อยเอ็ด 7.มรภ.ศรีสะเกษ การสร้างมูลค่าให้กับอาหารพื้นถิ่นด้วยการฉายรังสีอาหาร ผลที่ได้จากโครงการ • ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเทคโนโลยีการฉายรังสี • ผู้ประกอบการที่เข้าโครงการและได้เพิ่มกระบวนการฉายรังสีใน กระบวนการผลิตเชิงพาณิชย์ ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนบ้านบนนบ ผลิตภัณฑ์เครื่องแกงก้อน 4 ชนิด • ผู้ประกอบการน าผลิตภัณฑ์เข้าร่วมวิจัยและพัฒนาต่อกับ สทน. ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ผงแป้งกล้วย ผลิตภัณฑ์น ้าพริกข่ายายบัวจันทร์ ผลิตภัณฑ์ชา เกสรกล้วยไข่ ขอบคุณข้อมูลจากทีมถ่ายทอด เทคโนโลยี สุนทรี สุขสวัสดิ์ และคณะ
  10. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 10-year foresight (updated: Nov 2022) [Agriculture

    1/3] Project Output Impact การปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยเทคโนโลยีทางรังสีเพื่อเพิ่ม ความหลากหลายและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ 1. ขึ้นทะเบียนรับรองสายพันธุ์ใหม่ที่ได้จากการ คัดเลือกพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ 2. เครือข่ายเกษตรกร ผู้ประกอบการ หรือ บุคคลภายนอก ที่มีศักยภาพในการปฎิบัติงานด้านการ ปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยรังสี 1. เพิ่มคุณภาพและมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ช่วย ยกระดับชีวิตเกษตรกรไทย และเพิ่มขีดความสามารถ ในการผลิตและแข่งขันกับต่างประเทศ 2. เสริมสร้างและเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีรังสีและนิวเคลียร์ให้กับ เกษตรกร ผู้ประกอบการ หรือบุคคลภายนอกสถาบันฯ การประยุกต์เทคนิคทางรังสีเพื่อพัฒนาสายพันธุ์และ คัดเลือกเพศของพืชกัญชงและกัญชาในการสนับสนุน ให้เป็นพืชเศรษฐกิจใหม่ของประเทศ 1. ขึ้นทะเบียนรับรองสายพันธุ์ใหม่ที่ได้จากการ คัดเลือกพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ กรรมวิธีการได้ สารส าคัญจากกัญชง กัญชาในปริมาณที่มากและใช้ เวลาไม่นาน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการพัฒนาสายพันธุ์ กัญชง กัญชา 2. การจดอนุสิทธิบัติการผลิตภัณฑ์ชงดื่มที่ได้ มาตรฐาน 1. เพิ่มคุณภาพผลผลิตและปริมาณสารส าคัญในกัญ ชง กัญชา ได้กรรมวิธีในการได้สารส าคัญจากกัญชง กัญชาในปริมาณที่มากและใช้เวลาไม่นาน 2. เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ชงดื่มที่จ าเพาะต่อ วัตถุประสงค์ทางชีวภาพ
  11. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 10-year foresight (updated: Nov 2022) [Agriculture

    2/3] Project Output Impact การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร 1. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการน าวัสดุเหลือทิ้งจาก การเกษตรมาแปรรูปจนได้มาตรฐานและสามารถจด สิทธิบัติได้ 2. เครือข่ายชุมชนที่มีความรู้ความสามารถในการ พัฒนาการใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ที่สามารถด าเนินงานต่อยอดงาวิจัยจากนักวิจัยต่อไป ได้ 1. ส่งเสริมให้มีการน าวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ ลดปัญหาเรื่องขยะเหลือทิ้ง เป็นการ ช่วยดูแลสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร โดยมี สทน. และหย่วย งานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีและให้ การสนับสนุน
  12. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) Project Output Impact การสร้างพื้นที่ประชากรแมลงวันผลไม้ในระดับต ่าเพื่อ การส่งออกผลไม้

    1. พื้นที่เขตปลอดประชากรแมลงวันผลไม้อย่างยั่งยืน 2. สิทธิบัตรอุปกรณ์เพาะเลี้ยงแมลง 1. พื้นที่ปลูกผลไม้เศรษฐกิจในประเทศไทยได้รับการรับรอง พื้นที่ low pest prevalence area for fruit flies จากกรมวิชาการ 2. ลดอุปสรรคและการกีกกันทางการค้าในการส่งออกผักและ ผลไม้ ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้แก่ผู้ผลิตผักและผลไม้ 3. การผลิตผักและผลไม้มีความปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมรับผิดชอบ และมีส่วนร่วมในการ จัดการแมลงวันผลไม้ในพื้นที่ การพัฒนาสายพันธุ์แมลงวันผลไม้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพเทคนิค SIT และลดต้นทุนการเพาะเลี้ยง 1. สายพันธุ์แมลงวันผลไม้เชิงพาณิชย์ 2. พัฒนาต่อยอดเป็นปุ๋ ยหมักหรืออาหารเลี้ยงสัตว์ใน เชิงพาณิชย์ 1. ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมแมลง 2. สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ชุมชน เกิดความ มั่นคงทางอาหาร 3. ปุ๋ ยหมัก/อาหารเลี้ยงสัตว์ ที่ได้จากอาหารเทียมเหลือทิ้ง เป็นการเพิ่มมูลค่าจากกากอาหารเทียมเหลือใช้ให้เกิด ประโยชน์ 10-year foresight (updated: Nov 2022) [Agriculture 3/3]
  13. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 10-year foresight (updated: Nov 2022) [Food

    1/2] Project Output Impact การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสีเพื่อ ยกระดับการควบคุมคุณภาพและการสร้างอัตลักษณ์ ของสินค้าเกษตรและอาหาร ฐานข้อมูลอาหารแต่ละชนิดผลงานตีพิมพ์ใน Q1- Q4 สถาบันฯ ถูกจัดอันดับใน SCImago Institutions Ranking น าไปสู่การเป็นสถาบัน ชั้นน าด้านการวิจัย นวัตกรรม และการบริการ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ และเป็นผู้น าเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ในอาเซียน สทน. สามารถเปิดงานบริการใหม่ด้านการตรวจพิสูจน์ แหล่งที่มาและการปลอมปนในตัวอย่างอาหาร เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวสังข์หยด ผักอินทรีย์ เมล็ดกาแฟ น ้า มะพร้าว น ้าผึ้ง เป็นต้น เพื่อช่วยเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจให้แก่ประเทศ ในสินค้า GI และสินค้าออร์ แกนิค การยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหาร และการเกษตรด้วยการฉายรังสีและเทคโนโลยี พลาสมา - พัฒนาสายพันธุ์เชื้อจุลินทรีย์ - สร้างโปรตีนทางเลือก - ผลงานตีพิมพ์ - พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารโปรตีนทางเลือก - ผู้ประกอบการและผู้บริโภคมีทัศนคติที่ดีต่ออาหาร ฉายรังสี - ช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้าพื้นถิ่น - ขยายตลาดสินค้าส่งออก - สร้างทัศนคติที่ดีต่ออาหารฉายรังสี - ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการฉายรังสีในอาหาร - สร้างนวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น โปรตีนทางเลือก - การยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยทั้งในด้าน สุขภาพและเศรษฐกิจของประเทศ - ปรับปรุงกระบวนการ/สภาวะในการฉายรังสีเพื่อลด ลักษณะที่ไม่พึงประสงค์ของอาหารฉายรังสี
  14. ฝ่ายเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร (ทก.) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (ศน.) 10-year foresight (updated: Nov 2022) [Food

    2/2] Project Output Impact การพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบทางประสาทสัมผัส (sensory evaluation laboratory) ส าหรับการทดสอบอาหาร ปี 2568 : 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบทางประสาทสัมผัสอาหาร (sensory evaluation ) จัดท าและประกาศใช้เอกสารระเบียบปฏิบัติงาน และเอกสารที่เกี่ยวข้องในระบบ คุณภาพ ISO 9001 แล้วเสร็จ 2. ห้องปฏิบัติการทดสอบจุลชีววิทยาอาหาร มีการปรับปรุงกระบวนการและ เอกสารเพื่อขอครอบครองเชื้อตาม พรบ.เชื้อโรคและพิษสัตว์ ปี 2569 : 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบประสาทสัมผัสอาหารได้รับการรับรองมาตรฐาน และเปิด บริการวิจัยให้ผู้ประกอบ การด้านอาหารใช้บริการทดสอบได้ 2. มีผลงานตีพิมพ์หรือเกิดนวัตกรรมด้านอาหารชนิดใหม่ ปี 2570 : 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบจุลชีววิทยาอาหารได้รับการรับรองตามพรบ. เชื้อโรค และพิษจากสัตว์ ปี 2571-2573 : การพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบทางประสาทสัมผัสอาหาร (sensory evaluation) ในระบบ ISO 17025 (หากมีความต้องการ จากภายนอก) ปี 2574-2575 ได้รับการรับรองและเปิดบริการให้ผู้ประกอบอาหารรายใหญ่ได้ 1. เกิดการใช้ประโยชน์จากเครื่องมือ อุปกรณ์ ห้องวิจัยและโครงสร้างพื้นฐาน (Use of facilities and resources) ของห้องปฏิบัติการทดสอบทาง ประสาทสัมผัสอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ISO 9001 2. ห้องปฏิบัติการทดสอบจุลชีววิทยาอาหารมีมาตรฐานการวิจัยด้านความ ปลอดภัยทางชีวภาพ ตามคณะกรรมการ วช. ก าหนด 3. สทน.มีผลงานตีพิมพ์และมีนวัตกรรมอาหารชนิดใหม่/เทคโนโลยีใหม่ด้าน อาหารในอนาคต 4. ส่งเสริมการด าเนินการวิจัยของ สทน. ร่วมกับหน่วยงานวิจัย หรือ สถาบันการศึกษาจากภาครัฐเพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหารชนิดใหม่/ เทคโนโลยีใหม่ด้านอาหาร 5. ช่วยสนับสนุนและเสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการและอุตสาหกรรมอาหาร ของไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและขีดความสามารถด้านการแข่งขันของไทย ในระดับนานาชาติ 6. เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 7. เปิดงานบริการใหม่ (เครื่อง Electronic Nose) 8. เพิ่มคุณภาพของงานตีพิมพ์