Upgrade to Pro — share decks privately, control downloads, hide ads and more …

การบริหารงานบุคคล

Carlos
July 17, 2020

 การบริหารงานบุคคล

การบริหารงานบุคคล

Carlos

July 17, 2020
Tweet

More Decks by Carlos

Other Decks in Education

Transcript

  1. ความสําคัญและความจําเปนของการบริหารงานบุคคล การจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ บุคลากรนับวามีความสําคัญเปนอยางยิ่ง การจะใหการ จัดการศึกษาในโรงเรียนประสบผลสําเร็จตามเปามหมายตองอาศัยทรัพยากรที่จําเปน 4 อยาง คือ คน เงิน

    วัสดุ การจัดการ ซึ่งการใชทรัพยากรทั้ง 4 ใหเกิดประโยชนตองคํานึงถึง 3 หลัก คือ หลักความเสมอภาค หลักประสิทธิภาพ และหลักประสิทธิผล โรงเรียนมีบทบาทสําคัญใน การพัฒนา และใหความรูแกสมาชิกในสังคม ในโรงเรียนมีขอบขาย ปจจัยหลายอยางที่ตอง ดําเนินงาน ซึ่งทุกภาระกิจมีความสําคัญ และจําเปนที่จะชวยสงเสริมสนับสนุนกัน ปจจัยและ ทรัพยากรตางๆมีความสําคัญ คน นับวามีความสําคัญ เพราะคนเปนผูใชปจจัยในการบริหาร อื่นๆ ดังนั้นการจัดการศึกษาจะมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผลเพียงไรยอมขึ้นกับ คน ใน องคการ
  2. ความสําคัญของบุคคล 1. คนฐานะเปนองคประกอบสําคัญขององคการ ในองคการองคประกอบที่สําคัญมีสองสวน คือ คน และ งาน 2. คนฐานะเปนทรัพยากรการบริหารที่สําคัญ

    คนไดรับการพิจารณาวาเปนปจจัยที่สําคัญ ที่สุดในการบริหาร เพราะคนเปนผูจัดหา และใชทรัพยากรบริหารอื่นๆ 3. คนในฐานะเปนกระบวนการหนึ่งของกระบวนการบริหาร 4. คนในฐานะเปนภารกิจหนาที่ดานการบริหารของผูบริหารการศึกษา 5. คนในฐานะเปนนโยบายการบริหารที่สําคัญ
  3. ความหมายของการบริหารงานบุคคล เปนการบริหารทรัพยากรเพื่อใชคนใหเหมาะสมกับงาน โดยมีเปาหมายของการบริหาร งานบุคคล คือการไดมาซึ่งมีความรูความสามารถเหมาะสม ตามความตองการของหนวยงาน หลักการทั่วไปของการบริหารงานบุคคล หมายถึง การกระทําใดๆของฝายบริหารที่จะทําให บุคคลสองฝายในหนวยงาน

    คือฝายบริหาร และฝายปฏิบัติ เกิดความเขาใจในหนาที่ บทบาท และความสัมพันธของงานจนมีแนวคิดที่จะชวยเหลือเกื้อกูลกัน โดยยึดความเจริญกาวหนา ของหนวยงานเปนหลัก เปาหมายของการบริหารงานบุคคล คือ การดําเนินงานขององคการ บรรลุเปาหมาย สงเสริมสนันสนุนใหบุคลากรไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ประสบความ สําเร็จในการทํางาน และพัฒนาวิชาชีพของบุคลากร ระบบการบริหารงานบุคคล มี 2 ระบบ ประกอบดวย ระบบอุปถัมภ และระบบคุณวุฒิ ระบบอุปถัมภ หมายถึง ระบบที่มีการใหตําแหนงในหนวยงานเปนรางวัลแกผูภักดีตอผูบริหาร โดยไมจํากัดขอบเขต ระบบคุณวุฒิ หมายถึง ระบบที่มีการคัดเลือกคนดี คนมีความรู ความสามารถ โดยการสอบ แขงขัน
  4. การบริหารงานบุคคลแผนใหม การบริหารงานบุคคลแผนใหม ยึดหลักการสําคัญ 12 ประการ คือ หลักความเสมอภาค หลักความสามารถ หลักความมั่นคง หลักความเปนกลางทางการเมือง

    หลักการพัฒนา หลัก ความเหมาะสม หลักความยุติธรรม หลักสวัสดิการ หลักเสริมสราง หลักมนุษยสัมพันธ หลัก ประสิทธิภาพ หลักการศึกษาวิจัย กระบวนการบริหารงานบุคคล ประกอบดวย การกําหนดนโยบาย การวางแผนกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก การบรรจุแตงตั้ง การปฐมนิเทศ การมอบหมายงาน การพัฒนา การ ประเมิน สวัสดิการ และ วินัย
  5. ภารกิจดานการบริหารงานบุคคลของผูบริหารการศึกษา ภารกิจดานการบริหารบุคคลนับวาเปนภารกิจที่สําคัญของผูบริหารการศึกษา ซึ่งภาระกิจของ ผูบริหารการศึกษาประกอบดวย โปรแกรมการศึกษา คือ จุดมุงหมาย หลักสูตร การเรียนการสอน การบริการนักเรียน

    การ พัฒนาบุคลากร ฯลฯ ทรัพยากรการบริหาร คือ งบประมาณ วัสดุ ความปลอดภัย สิ่งอํานวยความสะดวกฯลฯ บุคลากร คือ ทรัพยากรการ สรรหา การคัดเลือก การปฐมนิเทศ การประเมินผล การพัฒนา สิ่งตอบแทน ฯลฯ การวางแผน คือ แผนยุทธศาสตร แผนพัฒนา แผนปฏิบัตการ การพัฒนาบุคลากร ขอมูลขาวสารฯลฯ ความสัมพันธกับภายนอก คือ องคการรัฐบาล ชุมชนสัมพันธ สถาบันการศึกษาฯลฯ
  6. สมรรถนะกับกระบวนทัศนการบริหารงานบุคคล สมรรถนะ คือลักษณะที่เปนรากฐานของบุคคลหนึ่งๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงเชิงเหตุผลกับ ผลการปฏิบัติงานที่เหนือกวาและ หรือประสิทธิผลที่สามารถอางอิงกับเกณฑมาตราฐานใน งานหนึ่งหรือสถานการณหนึ่งๆได สมรรถนะกับกระบวนการบริหารงานบุคคล 1.การสรรหา และคัดเลือกบุคลากรตามคุณสมบัติ

    และสมรรถนะตามตําแหนงที่ ตองการ การเลือกใชวิธีการคัดเลือกที่ไดคนตรงกับความตองการ ประหยัดเวลา และคาใชจาย เชน การใชแบบทดสอบ หรือวิธีสัมภาษณจะทําใหไดคนที่ตรงตรงกับความตองการ ประหยัดเวลา และคาใชจาย มากที่สุด
  7. 2.การวางแผนอบรมและพัฒนาบุคลากร ขอมูลเกี่ยวกับสมรรถนะของบุคคลจะชวย กําหนดทิศทางความตองการพัฒนา สวนการพัฒนาเปนการเพิ่มการทํางานใหคนแตละคน อยางมีประสิทธิภาพ 3.การวางแผนการกาวหนาในอาชีพของบุคลากร เปนการวางแผนทดแทนตําแหนง ระดับบริหาร และทําใหทราบถึงจุดแข็งจุดออนที่มี ทําใหทราบอนาคต

    ทําใหตอง เตรียมบุคลากรใหพรอมกับตําแหนงในองคการ 4.การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เปนตัวสะทอนใหทราบถึงสมรรถนะของ ตนเอง และขององคการ 5. คาตอบแทน เปนตัวชวยใหบุคคลมีความกระตือรือรนมากขึ้น สงผลตอสมรรถนะ ของ หนวยงาน
  8. คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ คุณสมบัติทั่วไป ของผู้จัดการฝ่ายบุคคลควรมีลักษณะของผู้บริหารที่แตกต่างกว่าผู้บริหารอื่นๆและไม่ควรยึดติดกับการบริหาร แบบ"ผู้จัดการ" ในสมัยก่อน เพราะการที่โลกก้าวเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจใหม่ผู้จัดการฝ่ายบุคคลต้องมีทัศนคติให้ทันกับยุค โลกาภิวัตน์ สามารถทํางานร่วมกับบุคคลที่มาจากพื้นฐานและเชื้อชาติต่างกันเป็นผู้นําที่มีส่วนร่วมกับทีมงานทุกชาติ ทุกภาษา ได้มีความสามารถในการมองการณ์ไกลหรือมีวิสัยทัศน์กว้างไกล

    มีความเป็นผู้นําที่สามารถอํานวยความสะดวกในการ เปลี่ยนแปลง องค์กร มีลักษณะเป็นผู้ประสานงานที่มีประสิทธิภาพเป็นนักต่อรองและแก้ไขปัญหาแบบร่วมมือ และ สร้างสรรค์ เข้าใจวัฒนธรรมขององค์กรของชาติตนเองอย่างลึกซึ้ง และ เข้าใจวัฒนธรรมของชาติอื่นและองค์กรเป็นอย่างดี ส่วนคุณสมบัติทั่วไปที่จําเป็นต้องมีในตัวผู้จัดการฝ่ายบุคคลมีดังนี้
  9. 1. เป็นผู้นําและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เพื่อนร่วมองค์กรสามารถจูงใจพนักงานให้อุทิศและทุ่มเทการทํางานให้กับองค์กรได้ 2. มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้ากระจายอํานาจ และวินิจฉัยสั่งการและพร้อมที่จะรับผิดชอบ 3. มีความรอบคอบในการพิจารณาและวินิจฉัยการปฏิบัติงาน 4. ซื่อสัตย์

    สุจริต และยุติธรรม 5. มีมนุษยสัมพันธ์ดีเข้ากับคนที่มีพื้นฐานที่มาแตกต่างได้เป็นที่ไว้วางใจและน่าเชื่อถือกับบุคคลทุกฝ่ายทั้งในและนอกองค์กร 6. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 7. เป็นผู้ที่มีความสามารถและเชี่ยวชาญในการแก้ไขอุปสรรคปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรให้มาเป็นการร่วมมือกัน 8. เป็นผู้ที่สามารถทําให้พนักงานเชื่อถือและศรัทธาในปรัชญาองค์กรให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กรไม่ว่าจะเป็นองค์กรในภาครัฐบาล องค์กร ธุรกิจหรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังผลกําไรจะต้องมีความเชื่อว่างาน และบทบาทของ องค์กรเป็นงานและบทบาทที่สําคัญที่สุดของสังคมเท่าๆ กับ รากฐานของสังคมอื่นๆ เพื่อความสําเร็จในการดําเนินงานขององค์กร ( Peter Drucker ) 9. มีความเข้าใจภาษาต่างประเทศ เป็นอย่างดี 10. มีประสบการณ์ด้านการบริหารงานบุคคลอย่างน้อยตั้งแต่ 3-5 ปี
  10. โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้จัดการฝ่ายบุคคลที่มีความสามารถ และขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติมรวมทั้งมีวิสัยทัศน์กว้างไกลจะเลื่อนให้ดํารง ตําแหน่งผู้อํานวยการ กรรมการผู้บริหาร สําหรับผู้ที่มีความสามารถในการบริหารงานด้านนี้ คือผู้ที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทําให้ องค์กรดําเนินธุรกิจไปได้อย่างราบรื่นและประสบผลสําเร็จ ผู้จัดการฝ่ายบุคคลจึงเป็นทรัพยาบุคคลที่มีค่าขององค์กรเช่นกัน และองค์กรต้องการให้บุคลากรเช่นนี้บริหารงานจนกว่าจะเกษียณงาน

    อาชีพนี้จึงเป็นอาชีพค่อนข้างมั่นคงและหรืออาจได้รับ การเสนอเงื่อนไขที่ดีกว่าจากองค์กรธุรกิจอื่น
  11. ความสําคัญของการบริหารงานบุคคล • บุคคลในองค์การ เปรียบเสมือนชิ้นส่วนสําคัญในการขับเคลื่อนองค์การเพื่อไปสู่จุดหมายปลายทางที่กําหนดไว้ ดังนั้นจึงควรศึกษาความสําคัญของการบริหารงานบุคคลซึ่งแยกเป็นประเด็นสําคัญๆได้ดังนี้ • -ช่วยเสริมสร้างขวัญ และกําลังใจไม่ว่าจะเป็นด้านความสะดวกสบาย -ช่วยให้องค์การมีความมั่นคง และมั่งคั่งเมื่อพนักงานมีความมุ่งมั่นในการทํางานย่อมส่งผลให้องค์การมีความเจริญ

    เติบโตและเข้มแข็ง ผลผลิตเป็นที่ยอมรับของตลาดและมีศักยภาพในการแข่งขันสูง -ช่วยให้เกิดความมั่นคงแก่สังคม สังคมประกอบขึ้นจากกลุ่มบุคคลเล็กๆ มารวมกันถ้าแต่ละกลุ่มมีความมั่นคงย่อมส่ง ผลให้สังคมเกิดความมั่นคงเช่นกัน -ช่วยให้เกิดความมั่นคงแก่ประเทศชาติ ถ้าบุคลากรของทุกองค์การเป็นผู้มีความสามารถ
  12. •การจัดการด้านสวัสดิการ Welfare •การพ้นจากงาน working Leave แรงงานสัมพันธ์ Labor Relati การวางแผนกําลังคน การดําเนินธุรกิจย่อมจะมีบางช่วงเวลาที่ต้องใช้กําลังคนมาก

    บางช่วงใช้กําลังคนมากก็สิ้นเปลืองค่าใช้ จ่าย ถ้ากําลังคนน้อยก็ทําให้งานภายในองค์การเกิดความเสียหายได้เช่นกัน การวางแผนกําลังงานจะต้องมีการวิเคราะห์งาน เพื่อให้ทราบถึงการจัดหมวดหมู่ของงานและการประเมินผล การวิเคราะห์ งาน Job Analysis on
  13. •1. คําบรรยายลักษณะงาน JOB Descriptionเป็นข้อกําหนดหน้าที่ของงานในด้านต่างๆ เพื่อให้ทราบถึง ขอบเขตของงานด้านนั้น โดยจะมีรายละเอียดดังนี้ –หน้าที่รับผิดชอบ –กิจกรรมที่ต้องทํา –ขอบเขตความรับผิดชอบ

    –หน่วยงานที่ต้องติดต่อ 2. คุณสมบัติของพนักงาน Job Specification เป็นการกําหนดคุณสมบัติของพนักงานที่จะทําหน้าที่ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับงานที่จะต้องรับผิดชอบเช่น
  14. •3. การจัดหมวดหมู่ของงาน Job Classification คือ การจัดการเกี่ยวกับงานให้เป็นระบบ งานใดมีความ สัมพันธ์กับหน่วยงานอื่นๆ ในลักษณะที่มีความคล้ายคลึงกัน ก็สามารถจัดให้อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน

    •4. การประเมินผลงาน Job Evaluation ภายหลังจากการจัดการเกี่ยวกับงานในประเด็นต่าง ๆ แล้วจะ ต้องมีการประเมินผลของงาน เพื่อใช้เป็นการกําหนดค่าตอบแทนรวมถึงการจัดสวัสดิการด้านต่างๆ ให้ เหมาะสม การสรรหาการคัดเลือก การสรรหาบุคลากร เพื่อเข้ามาร่วมงานกับองค์การ ผู้รับผิดชอบจะต้องมีการหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณสมบัติของบุคคลที่ต้องการอ่าน จากนั้นจึงดําเนินการขั้นตอนต่อไปสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
  15. •2.1 การสรรหาจากภายในองค์การ คือ เมื่อองค์การมีความต้องการพนักงานในตําแหน่งผู้บริหารระดับ ต่างๆ ไม่จําเป็นต้องประกาศรับสมัครบุคคลภายนอกเสมอไปทั้งนี้เพราะบุคลากรภายในองค์การบางคน อาจมีคุณสมบัติที่เหมาะสมอยู่แล้วก็ได้ ซึ่งการสรรหาบุคลากรภายในกิจการมีข้อดีในด้านขวัญและ กําลังใจ 2.2

    การสรรหาจากภายนอกกิจการ ตําแหน่งงานบางประเภทมีความจําเป็นที่จะต้องหาจากแหล่ง ภายนอก เพราะมีบุคคลที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกว่าภายใน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ที่องค์การจะได้รับใน ด้านของความหลากหลายด้านความคิดสร้างสรรค์จากบุคคลภายนอก แหล่งกําลังคนภายนอกที่ สําคัญ